คำไวพจน์

คำไวพจน์ หมวด ว

คำไวพจน์ หมวด ว ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนต่างกันหรือใช้ในบริบทต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า คำพ้องความ การหลากคำ คำพ้องรูป คำพ้องความหมาย

ปัจจุบัน มีการศึกษาคำที่พ้อง และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ คำพ้องรูป คำพ้องเสียง และคำพ้องความหมายหรือคำพ้องความ

คำพ้องรูป คือคำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงต่างกันหรือเหมือนกันก็ได้ เช่น คำว่า ชิน แปลว่า คุ้นจนเจน หรือผู้ชนะ หรือเนื้อโลหะเจือชนิดหนึ่ง

คำพ้องเสียง (คำไวพจน์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร) คือคำที่เขียนต่างกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงเหมือนกัน เช่น คำว่า ใจ กับ ไจ จร กับ จอน

คำพ้องความ (คำไวพจน์ของพจนานุกรมราชบัณฑิตฯ) คือคำต่างรูป ต่างเสียง แต่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกัน เช่น กิน กับ รับประทาน กัลยา นารี สุดา สมร หญิง เป็นคำพ้องความกัน

รวมคำไวพจน์ หมวด ว

คำไวพจน์ หมวด ว ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ วัด = อารามิก / อาราม / โบสถ์ / สถานปฏิบัติธรรม / สำนักสงฆ์ / วิหาร / เจดีย์ / พุทธาวาส / ราชวรมหาวิหาร / ศาลาการเปรียญ / ราชวรวิหาร / การเปรียญ / วรมหาวิหาร / วรวิหาร / วัดราษฎร์
  2. คำไวพจน์ วัว = คาวี / ฉลู / มหิงส์ / พฤษภ / ควาย / กาสร / อสุภ / มหิงสา / กระบือ / โค
  3. คำไวพจน์ เวลา = เพรางาย / ละมา / นิศากาล / นิสาท / ศุกลปักษ์ / บัด / รุ่งอรุณ / รุ่งเช้า / พรหมภูติ / อันธิกา / มะลำ / มาลำ / จิรกาล / ทินาท / รัตติกาล / มัชฌันติก / จิรัฐิติกาล / สนธยา / บัดแมล่ง / บุพพัณหสมัย / มุหุต / รุ่งสาง / สัญฌา / รุ่งสว่าง / กัลปาวสาน / เมื่อกี้ / เมื่อตะกี้ / โพล้เพล้ / อนาคต / กลางคืน / หัวที / หัวค่ำ / เดี๋ยวนี้ / ประเดี๋ยวนี้ / พลบค่ำ / คืน / ครู่ / เช้า / เช้ามืด / ย่ำค่ำ / กลางวัน / พลบ / เข้าไต้เข้าไห / บ่ายควาย / ทิวกาล / กาล / อรุโณทัย / ไก่โห่ / เพล / นิสาทิ / นิศาคม / อุษาโยค / มัชฌันติกสมัย

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "คำไวพจน์ หมวด ว"