
ตัวอย่าง คำไวพจน์ ยอดนิยม
คลังคำไวพจน์ รวบรวมคำที่เป็นที่นิยม
คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนต่างกันหรือใช้ในบริบทต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า คำพ้องความ / การหลากคำ / คำพ้องรูป / คำพ้องความหมาย
คำพ้องมีกี่ประเภท?
ปัจจุบัน มีการศึกษาคำที่พ้อง และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ คำพ้องรูป คำพ้องเสียง และคำพ้องความหมายหรือคำพ้องความ
คำพ้องรูป คือคำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงต่างกันหรือเหมือนกันก็ได้ เช่น คำว่า ชิน แปลว่า คุ้นจนเจน หรือผู้ชนะ หรือเนื้อโลหะเจือชนิดหนึ่ง
คำพ้องเสียง (คำไวพจน์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร) คือคำที่เขียนต่างกัน มีความหมายต่างกัน ออกเสียงเหมือนกัน เช่น คำว่า ใจ กับ ไจ จร กับ จอน
คำพ้องความ (คำไวพจน์ของพจนานุกรมราชบัณฑิตฯ) คือคำต่างรูป ต่างเสียง แต่มีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกัน เช่น กิน กับ รับประทาน กัลยา นารี สุดา สมร หญิง เป็นคำพ้องความกัน
คำไวพจน์หมวด ก - ช
คำ | คำไวพจน์ |
---|---|
กลางคืน | คืน, ย่ำค่ำ, รัตติกาล, ราตรี, อันธิกา |
กลิ่น | คนธ์, ฉม, สุคนธชาติ, อบอวล, อาย |
คน | ชน, ชน-, นร, นารี, มนุษย์ |
ครุฑ | กาศยป, ปันนคนาสน์, วิษณุรถ, ไวนเตยะ, สุวรรณกาย |
ความรู้ | เมธา, วิชา, วิทยา, เวท, เวท- |
ควาย | กระบือ, กาสร, มหิงส์, มหิงสา, ลุลาย |
คำพูด | ถ้อย, พจนา, วัจนะ, วัจนา, วาจา |
คิดถึง | คิด, ถวิล, นึก, นึกถึง, ระลึก |
เครื่องนุ่งห่ม | ภูษา, วัตถ์, วัตถา, วัตถาภรณ์, อาภรณ์ |
เครื่องปรุง | เครื่องปรุงรส |
เคลื่อนไหว | ไคลคลา, นวย, ยุรยาตร, เยื้องย่าง, ลีลา |
งาม | บวร, รุจิเรข, วิศิษฏ์, เสาวภาคย์, โสภณ |
งู | เงี้ยว, เทียรฆชาติ, นาคา, ภุชงค์, อุรค |
เงิน | เงินทอง, ปรัก, รัชฎา, รัชตะ, หิรัญ |
จระเข้ | กุมภา, กุมภิล, กุมภีล์, นักกะ, นักระ |
จำนวนนับ | หนึ่ง |
ใจ | กมล, ดวงใจ, ดวงแด, มโน, ฤทัย |
ช้าง | กุญชร, คชา, หัตถี, หัสดินทร์, ไอยรา |
ชีวิต | เกิด, ชีวัน, ชีวา, ลมหายใจ, วิถีชีวิต |
คำไวพจน์หมวด ด - ผ
คำ | คำไวพจน์ |
---|---|
ดอกบัว | บัว, ปทุม, ปทุมา, ปัทมา, อุบล |
ดอกไม้ | บุปผชาติ, บุปผา, ผกา, มาลี, สุคันธชาติ |
ดาว | ชุติ, ดารกะ, ดารา, ฤกษ์, อัสสนี |
ดีใจ | ชอบใจ, พอใจ, ยินดี, ยิ้มแต้, หฤษฎ์ |
ต้นไม้ | เฌอ, ตรุ, พฤกษ์, รุกข์ |
ตาย | บรรลัย, ปรลัย, มรณะ, วายชีพ, วายปราณ |
ทรัพยากรแร่ธาตุ | เงิน, ทราย, ทองคำ, หิน, เหล็ก |
ทอง | สุวรรณ |
ทองคำ | กนก, กาญจนา, กาณจน์, ชมพูนุท, สุวรรณ |
ท้องฟ้า | ทิฆัมพร, นภา, เวหา, อัมพร, อากาศ |
ทาง | ถนน, ทิศ, สาย, เส้นทาง, โอกาส |
เทวดาผู้หญิง | เทวี |
เท้า | ตีน, บทบงกช, บทศรี, บาท, บาทา |
นก | ทวิช, ทวิชาชาติ, บุหรง, วิหค, สกุณา |
นกยูง | เมารี, โมร, โมรี, โมเรส |
น้ำ | คงคา, ชลธาร, ชลาลัย, นที, สาคร |
น้ำหวาน | นลัท, น้ำเกสรดอกไม้, น้ำผึ้ง, น้ำหวานในดอกไม้, พรนลัท |
บ้าน | ครัวเรือน, บ้านช่องห้องหอ, บ้านเรือน, เวศม์, อธิวาส |
ปลา | ปุถุโลม, มัจฉา, มัสยา, มีนา, วารีชาติ |
ป่า | ชัฏ, พงพนา, พนา, พนาวัน, ไพรสัณฑ์ |
ไป | จร, จากไป, เต้า, ยาตรา, สัญจร |
ผู้ชาย | เด็กผู้ชาย, บุรุษ, ผม, ผัว, พ่อ |
ผู้หญิง | กัญญา, นารี, บังอร, ยุพิน, สมร |
คำไวพจน์หมวด ฝ - ม
คำ | คำไวพจน์ |
---|---|
ฝน | พรรษ, พลาหก, พายุ, พิรุณ, มรสุม |
พระจันทร์ | กัษษากร, เดือน, บุหลัน, ศศิธร, โสม |
พระเจ้าแผ่นดิน | กษัตร, กษัตริย์, ธรารักษ์, ในหลวง, ราชา |
พระพุทธเจ้า | พระชินสีห์, พระธรรมราช, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระสุคต, โลกชิต |
พระอาทิตย์ | ตะวัน, ทินกร, ทิพากร, ทิวากร, สุริยะ |
พระอินทร์ | โกสีย์, ตรีเนตร, สหัสนัยน์, หัสนัยน์, อมรินทร์ |
เพื่อน | กัลยาณมิตร, คู่, มิตรแท้, มิตรภาพ, สหาย |
ไฟ | กูณฑ์, ปราพก, เพลิง, อัคคี, อัคนี |
ภูเขา | คีรี, บรรพต, พนม, ภูผา, สิงขร |
มอง | ชระเมียง, ดู, มุ่งดู, ยล, ส่งสายตา |
ม้า | พาชี, มโนมัย, อัศวะ, อัสดร, อาชา |
มือ | กร, หัตถ, หัตถ์ |
เมฆ | พลาหก, เมฆา, เมฆินทร์, วาริท, หมอก |
เมือง | ธานี, นครา, บุรี, ประเทศ, พารา |
เมืองหลวง | เมืองเป็นที่ตั้งรัฐบาล, เมืองศูนย์กลาง, ราชธานี, หัวเมือง |
แม่ | ผู้ให้กำเนิด, มาตุ, มารดา, มารดา, ยาย |
แม่น้ำ | แคว, ทะเล, น้ำ, มหาสมุทร, สายชล |
ไม่ | หา ไม่, หา...ไม่, หาไม่, อ, อ- |
คำไวพจน์หมวด ร - ส
คำ | คำไวพจน์ |
---|---|
รัก | ชอบ, ปฏิพัทธ์, รักใคร่, วิมลัก, หลงใหล |
รักษา | คุ้มครอง, ดูแล, บำรุง, ระวัง, อนุรักษ์ |
ร่างกาย | กาย, กาย-, สังขาร, อวยวะ, อินทรีย์ |
ราชสีห์ | ไกรสร, ไกรสีห์, นฤเคนทร์, สีห์, สีหราช |
เรียนรู้ | ร่ำเรียน, เรียน, เรียนหนังสือ, เล่าเรียน |
ลิง | กบินทร์, กระบี่, พานรินทร์, วอก, วานร |
ลูกชาย | กูน, ตนุช, บุตร, ปรัตยา, โอรส |
ลูกหญิง | ทุหิตา, ธิดา, ธิตา, บุตรี, สุดา |
เลือด | โลหิต |
วัว | กระบือ, กาสร, ควาย, คาวี, มหิงสา |
ศัตรู | ข้าศึก, ดัสกร, ไพรี, ริปู, อริ |
สงคราม | ต่อสู้, ยุทธ, ยุทธ์, ยุทธ-, สู้รบ |
สบาย | ร่มเย็น, สบายใจ, สุข, สุข-, สุขสบาย |
สร้าง | ก่อสร้าง, ทำ, ทำ, แปลง, แปลง |
สวย | งาม, ลอย, วิไล, สวยงาม, โสภา |
สวยงาม | เคลิบเคลิ้ม, ดูดี, น่าสนใจ, สวย, หล่อ |
สวรรค์ | ศิวโลก, สรวง, สุขาวดี, สุราลัย, สุริยโลก |
สัตว์ | ปสพ, ปาณภูต, ปาณี, สัตว, สัตว- |
สีขาว | ธวัล, ปัณฑูร, ศุกร, ศุภร, เศวตร |
สีแดง | ประวาลวรรณ, มณีราค, โรหิต, โลหิต, หง |
สีม่วง | อินทนิล |
เสียใจ | ร้องไห้ |
เสือ | ขาล, พยัคฆ์, พยัคฆา, พาฬ, ศารทูล |
แสง | ประกาย, รุ่งโรจน์, แสงไฟ, แสงสว่าง, อรุณ |
คำไวพจน์หมวด ห - อ
คำ | คำไวพจน์ |
---|---|
หนาว | เย็นจัด, เยือกเย็น, ศิศิร, สีตล, สีตล- |
หมอดู | ผู้ให้ฤกษ์, พยากรณ์, พรหมชาติ, โหร, โหรา |
หมู | กุน, วราห์, วราหะ, ศูกร, สุกร |
หลงใหล | ลุ่มหลง |
หอม | ฉม, ดอมดม, ประทิ่น, รัญจวน, หอมหวน |
หัว | กบาล, เกศา, เกศี, ล้าน, ศีรษะ |
หัวใจ | กมล, กมล-, ใจ, หฤทัย, หฤทัย- |
เห็น | เจอ, ประสบ, พบ, มลัก, หัน |
เหมือน | ใกล้เคียง, ดั่ง, ดุจว่า, เทียบ, เปรียบดัง |
ให้ | บริจาค, ประทาน, มอบ, ส่งต่อ, หยิบยื่น |
ใหญ่ กว้าง | พิบูลย์, ไพศาล, มหันต์, มหา, มหึมา |
ไหว้ | กราบ, คารวะ, คำนับ, ถวายบังคม, บูชา |
อร่อย | ถูกปาก, มธุรตรัย, มีรสดี, เอมโอช, โอชา |
อารมณ์ | จิตใจ, พิชาน, สติอารมณ์, อาเวค, เอกัคตา |
อาหาร | ของกิน, เครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต, ธัญญาหาร, สุธา, เสบียง |
อำนาจ | ยิ่งใหญ่, ฤทธิ์, วิเศษ, ศักดิ์สิทธิ์, อิทธิฤทธิ์ |
หวังว่าทุกคนคงได้อิ่มเอมใจกับคำไวพจน์ทั้ง 100 คำที่แบ่งปันกันไปแล้วนะคะ และหวังว่าคำเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้บ้าง
หากยังมีคำที่ตกหล่นไปหรือคำไหนที่ไม่ได้กล่าวถึง สามารถแจ้งหรือแนะนำเพิ่มเติมกันเข้ามาได้เลยค่ะ